Tag: ความดันเลือดสูง

COVID-19, Latest, ปรึกษาหมอ, อาหารจากพืชเป็นหลัก, โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

ช่วงโควิด19อย่างนี้ metformin เป็นยาเบาหวานที่ดีกว่า

กราบเรียนคุณหมอสันต์ นับตั้งแต่ผมกลับจากแค้มป์ RDBY … ก็ได้เปลี่ยนวิธีใช้ชีวิตไปตามที่คุณหมอได้สอนอย่างค่อนข้างเคร่งครัด อาหารเปลี่ยนแทบจะ 100% คือมีเนื้อสัตว์เหลืออยู่น้อยมาก ออกกำลังกายด้วยการเดินในสนามที่โรงเรียนข้างบ้านทุกวันวันละ 1 ชั่วโมง น้ำหนักลดลงไป 8 กก. ตอนนี้เลิกยาความดันเลือดไปแล้ว ความดันเดิมตอนไปเข้าแค้มป์ 150/100 ขณะกินยาอยู่ ตอนนี้หยุดยาแล้วความดันอยู่ที่ 130/80

อ่านต่อ
Latest, โรคหัวใจ

ทำบอลลูนแล้วทิ้งยาหมด ถูกหมออวยกันใหญ่

แฟนบล็อกวาดให้ อังรีมูโอต์เดินทานผ่านดงพญาเย็น เรียน คุณ​หมอครับ มีเรื่องปรึกษาครับ ผมเคยทำบอลลูนใส่ขดลวดเส้นเลือดหัวใจ 2 เส้น เมื่อปลายปี 55 จากนั้นกินยา ออกกำลังกายเบาๆตามหมอแนะนำอยู่ 2 ปี ปี 58 อ่านบล๊อกคุณหมอเรื่องการปรับพฤติกรรม​ชีวิต กินผักผลไม้ปั่นเป็นอาหารเช้า  ออกกำลังกายให้หนัก จัดการอารมณ์

อ่านต่อ
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

Ep3: โรคความดันเลือดสูง (vdo หมอสันต์ชุดรักษาโรคด้วยตัวเอง)

https://www.youtube.com/watch?v=zrukLuJhwqs สวัสดีครับ ผม สันต์ ใจยอดศิลป์ นะครับ เทปนี้เป็น episode ที่ 3 ในชุดรักษาโรคด้วยตัวเอง ครั้งนี้เราจะคุยกันถึงเรื่องการรักษาโรคความดันเลือดสูง ท่านอาจจะเคยเข้าใจว่าโรคความดันเลือดสูงต้องให้หมอรักษาให้เท่านั้น นั่นเป็นความเข้าใจผิดนะครับ 90% ของโรคเป็นส่วนที่ตัวผู้ป่วยเป็นผู้รักษาเพราะโรคความดันเลือดสูงเกิดจากอาหารและการใช้ชีวิตการจะแก้ต้นเหตุต้องแก้ที่อาหารและการใช้ชีวิต ส่วนที่หมอจะเป็นผู้รักษาให้นั้นเป็นเพียง 10% ของโรค ซึ่งเป็นส่วนการใช้ยาแก้ปลายเหตุและการรักษาภาวะแทรกซ้อน เพราะว่าในปัจจุบันนี้เราไม่มียาอะไรที่จะไปรักษาให้โรคความดันเลือดสูงหายได้

อ่านต่อ
โรคหัวใจ

คู่มือรักษาตัวเอง ตอนที่ 1. โรคหัวใจขาดเลือด

(ช่วงโควิด19นี้มีจดหมายถามเรื่องการดูแลตัวเองในโรคเรื้อรังต่างๆเข้ามาแยะมาก เพราะหมอนัดแล้วไปรพ.ไม่ได้ก็กลัวว่าตัวเองจะมีอันเป็นไปจึงอยากจะรู้วิธีดูแลตัวเองไว้บ้าง พอผมเห็นเป็นคำถามซ้ำซากจึงบอกว่าให้ไปอ่านเองในบล็อกหมอสันต์ บางท่านก็หายไปพักหนึ่งแล้วก็เขียนกลับมาอีกว่าไม่รู้ว่าเรื่องโรคของตัวเองควรจะเลือกอ่านตรงไหน เพราะในบล็อกหมอสันต์มีเรื่องต่างๆเยอะเหลือเกิน ซึ่งผมเห็นด้วยเพราะตัวผมเองบางครั้งอยากหาเรื่องที่ตัวเองเขียนไปแต่ก็หาไม่เจอ จะจัดหมวดหมู่ก็ยากเพราะการตอบจดหมายแต่ละฉบับถามกันมาหลายข้อหลายระบบไม่รู้จะเอาจดหมายไปเข้าระบบไหน จึงใช้วิธีปล่อยไปตามกรรมไม่จัดอะไรทั้งสิ้น แต่เมื่อมีจดหมายซ้ำซากเข้ามามากก็เกิดความคิดว่าควรจะทะยอยเขียนบทความสักชุดหนึ่ง เรียกว่า “คู่มือรักษาตัวเอง” ก็แล้วกัน โดยทะยอยเขียนเป็นตอน ตอนละหนึ่งโรค กว่าเรื่องโควิด19จะเลิกรากันไปก็คงจะได้อย่างน้อยสักสิบตอนซึ่งก็พอที่จะครอบคลุมโรคเรื้อรังที่พบบ่อยส่วนใหญ่ได้ โดยจะเริ่มต้นด้วยโรคหัวใจก่อน ต่อไปวันหน้าใครถามโรคอะไรมาซ้ำซากผมก็จะได้เชิญให้ไปอ่านคู่มือรักษาตัวเองตอนที่เกี่ยวกับโรคนั้นได้เลย) …………………………………………………………. คู่มือรักษาโรคด้วยตนเอง ตอนที่

อ่านต่อ
โรคหัวใจ

คำแนะนำมาตรฐานการป้องกันโรคหัวใจปี 2019 (AHA/ACC guidelines)

     ปีนี้เป็นปีที่สมาคมหัวใจอเมริกัน (AHA) ซึ่งผมเป็นสมาชิกอยู่ ได้ร่วมกับวิทยาลัยแพทย์โรคหัวใจอเมริกัน (ACC) ออกคำแนะนำการป้องกันโรคหัวใจหลอดเลือดเสียใหม่ (2019 Guidelines) ผมเห็นว่ามีหลายประเด็นที่เป็นเรื่องใหม่ที่น่าสนใจเช่น       (1) การแนะนำให้คนอ้วนหรือคนน้ำหนักเกินไปเข้าโปรแกรมเปลี่ยนวิถีชีวิตอย่างสิ้นเชิงนาน 6 เดือน เพื่อเปลี่ยนนิสัยการกินและการออกกำลังกาย     

อ่านต่อ
ปรึกษาหมอ

เมื่อการตรวจสุขภาพคือสินค้า ก็ต้องมีการสร้างความหลากหลายให้เลือก

อจ.ค่ะดิฉันจะไปตรวจสุขภาพประจำปี รพ.เสนอโปรแกรมการตรวจสุขภาพมาให้ มีรายการที่เสนอให้ตรวจอยู่สองรายการซึ่งดิฉันไม่ทราบว่าตรวจอะไร ตรวจไปทำไม คือ (1) Anti-MOGและ (2) Metaneprine รบกวนสอบถามอาจารย์ว่ามันคือการตรวจอะไร จำเป็นมากน้อยเพียงใดขอบคุณค่ะ …………………………………………………… ตอบครับ      1. ถามว่า Anti-MOG คืออะไร ตอบว่า

อ่านต่อ
ปรึกษาหมอ, โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

สมองเสื่อมจากยากลุ่มแอนตี้โคลิเนอร์จิก (anticholinergic)

สามีของดิฉันอายุ 62 ปี (เข้าใจว่าเท่ากับคุณหมอ?) เป็นโรคความดันสูง ไขมันในเลือดสูง แพ้อากาศ รักษากับแพทย์และทานยาประจำไม่ได้ขาด ยาที่ทานอยู่ประจำมียาลดความดันสองตัวคือ Atenolol, Adalat ยาแก้แพ้คลอเฟนธรรมดาซึ่งทานประจำทุกวันมานานสิบปีได้แล้ว ยาต้านซึมเศร้า Triptanol ซึ่งทานมาได้หกปี ยาลดไขมัน Simmex และยานอนหลับ Xanax ซึ่งทานมาราวสามปี

อ่านต่อ