Tag: ฮอร์โมน

ปรึกษาหมอ

ตั้งครรภ์แล้วตรวจไทรอยด์หมอบอกต่ำ กลัวได้ลูกเป็นคนง่าวคนเอ๋อ

  พวงครามที่หลังบ้าน คุณหมอคะดิฉันรบกวนถามคำถามคุณหมอนะคะ. คือดิฉันตั้งครรภ์​ 10 สัปดาห์​แล้ว พอไปฝากครรภ์​แล้วตรวจเลือด​ ผลออกมาว่า ค่าฮอร์โมน​ไทรอยด์​ 0.53 คะ หมอที่ฟากครรภ์​บอกว่าค่อนค้างต่ำ คือดิฉันฟังเขาเข้าใจแค่นั้น (อยู่ที่มาเลเซีย) ดิฉันรบกวนคุณหมอช่วยดูผลตรวจเลือด​ให้ได้ไมคะ (รบกวนด้วยคะ) ​ค่า 0.53​ นั้นเป็นอันตราย​มากไมคะกับการตั้งครรภ์​ แล้วกินยากะตุ้นฮอร์โมน​ตอนนี้จะยังทันไมคะ

อ่านต่อ
ปรึกษาหมอ

ต่อมหมวกไตล้า และ..ปกติก็คือปกติ

สวัสดีค่ะคุณสันต์  ดิฉันมีเรื่องจะสอบถามคุณหมอเกี่ยวกับต่อมหมวกไตล้าค่ะ ดิฉันอายุ 43 ปีค่ะพอดีเมื่อสามเดือนก่อนเริ่มมีอาการเหนื่อยและอ่อนเพลีย นอนตื่นมาไม่เคยสดชื่น ต้องนอนกลางวันทุกวัน แต่นอนเท่าไหร่ก็ไม่หายเพลียค่ะ พอเดือนที่ 2 ก็มีอาการเพลียอีกแต่เบากว่าเดือนแรกค่ะเพลียแค่ช่วงก่อนประจำเดือนมาไม่กี่วันพอประจำเดือนมาก็หายเพลีย พอเดือนที่3 ก็ยังคงเพลียอยู่แต่เพลียน้อยว่าเดือนแรกเยอะเลยค่ะพอดีต้องไปตรวจร่างกายเลยไปตรวจเลือดหาค่าระดับฮอร์โมนต่อมหมวกไต (DHEAs) ผลออกมาค่าอยู่ที่ 98.9 ซึ่งหมอที่ไปฟังผลบอกว่าอยู่ในเกณฑ์ปกติ เพราะค่าต้องอยู่ในเกณฑ์ระหว่าง 74.8 –

อ่านต่อ
โรคหัวใจ

อย่างนี้ไม่ใช่เป็นโรคหัวใจ แต่เป็นโรคกรดไหลย้อน

ดิฉันอายุ 60 ปี น้ำหนัก 51 กก. สูง 162 ซม. เมื่อเกษียณแล้วได้ออกกำลังกายมาก ด้วยการตีเทนนิส 2 วัน วันละ 1 ชม วิ่งsky walk 3 วันวันละ

อ่านต่อ
ปรึกษาหมอ

เมื่อการตรวจสุขภาพคือสินค้า ก็ต้องมีการสร้างความหลากหลายให้เลือก

อจ.ค่ะดิฉันจะไปตรวจสุขภาพประจำปี รพ.เสนอโปรแกรมการตรวจสุขภาพมาให้ มีรายการที่เสนอให้ตรวจอยู่สองรายการซึ่งดิฉันไม่ทราบว่าตรวจอะไร ตรวจไปทำไม คือ (1) Anti-MOGและ (2) Metaneprine รบกวนสอบถามอาจารย์ว่ามันคือการตรวจอะไร จำเป็นมากน้อยเพียงใดขอบคุณค่ะ …………………………………………………… ตอบครับ      1. ถามว่า Anti-MOG คืออะไร ตอบว่า

อ่านต่อ
มะเร็ง, อาหารจากพืชเป็นหลัก

ที่หมอโยะว่าอดให้หิวจนท้องร้องจ๊อกๆแล้วจะอายุยืน..จริงหรือไม่

คุณหมอสันต์ที่เคารพครับ พอดีไปอ่านเจอบทความสรุป-โฆษณาหนังสือเล่มนึง อ่านแล้วทะแม่งๆ เลยอยากทราบความเห็นคุณหมอ หนังสือชื่อ “ยิ่งหิวยิ่งสุขภาพดี”  เขียนโดย นพ.โยะชิโนะริ นะงุโม (Yoshinori Nagumo) แปลโดยพิมพ์รัก สุขสวัสดิ์   จัดพิมพ์โดยสนพ. วีเลิร์น สรุปโดย …. ผู้เขียนค้นพบวิธีการลดน้ำหนักด้วยการทานเหลือวันละมื้อ  และพบว่าความหิวเป็นกระบวนการที่ทำให้ร่างกายซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอด้วยยีนที่ชื่อ

อ่านต่อ