Tag: โรคหัวใจ

Latest

ผ่าตัดบายพาสแล้วต้องใช้ ECMO มีโอกาสรอดกี่เปอร์เซ็นต์

สวัสดีค่ะคุณหมอ     มีเรื่องอยากปรึกษาคุณหมอ แต่จะเขียนให้กระชับเพื่อเป็นการไม่รบกวนเวลาคุณหมอ เพื่อขอความเห็นค่ะ คุณพ่อ แน่นหน้าอก เข้ารพ. … คุณหมอวินิจฉัยเส้นเลือดหัวใจตีบ 3 เส้น ทำบอลลูนให้ก่อน 1 เส้น ที่เห็นสมควรทำก่อน หลังทำพักฟื้นรพ  คุณพ่อฟื้นตัวดีมาก คุณหมอเห็นสมควร แนะนำทำต่อ

อ่านต่อ
โรคหัวใจ, โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

วงการแพทย์เปลี่ยนมาตรฐานโรคความดันเลือดสูงครั้งใหญ่อีกแล้ว (2020)

     เพิ่งหมาดๆไปสองสามปีมานี้เองที่ผมเคยเขียนในบล็อกนี้ว่าวงการแพทย์เปลี่ยนนิยามโรคความดันเลือดสูงครั้งใหญ่ (http://visitdrsant.blogspot.com/2017/11/blog-post_94.html) ซึ่งนั่นคือคำแนะนำการรักษาโรคความดันเลือดสูงซึ่งสมาคมหัวใจอเมริกันและวิทยาลัยแพทย์โรคหัวใจอเมริกัน (AHA/ACC 2017)ออกมาแทนมาตรฐานเดิม (JNC7) ตอนนั้นผมบ่นไว้ในบล็อกนี้ด้วยว่าการเปลี่ยนสะเป๊คครั้งนั้นจะทำให้คนจำนวนมากที่ความดันอยู่ระหว่าง 130/80 ถึง 139/89 ซึ่งแต่ก่อนถือว่าเป็นคนปกติ ถูกวินิจฉัยว่าป่วยเป็นโรคความดันเลือดสูงและกลายมาเป็นลูกค้าของวงการแพทย์ทันที ผลเสียก็คือจะนำไปสู่การใช้ยาเพิ่มขึ้น และผมยังติงไว้ว่าหลักฐานใหม่ๆบางชิ้นมีความสำคัญมากในแง่ที่จะช่วยลดความดันเลือดลงโดยไม่ต้องใช้ยา แต่คำแนะนำนี้กลับไม่ได้พูดถึงเลย เช่น     

อ่านต่อ
COVID-19, ปรึกษาหมอ

ตอนนี้กำลังอยู่ระหว่างโควิด19 อย่าคิดหยุดยาแอสไพริน

เรียนคุณหมอสันต์ที่เคารพ ผมอายุ 64 ปี หลังจากที่ทำตามคลิปของคุณหมอมาได้ปีกว่า ทั้งการหยุดกินเนื้อสัตว์ ไม่ผัดทอดอาหาร และออกเดินสลับกับจ๊อกกิ้งเกือบทุกวัน ผมเลิกยาเบาหวาน ยาความดัน ยาลดไขมัน ได้หมดแล้ว เหลือแต่ยาแอสไพริน ตัวผมเองไม่เคยเจ็บหน้าอก ไม่เคยเข้านอนโรงพยาบาล แต่หมอก็ให้กินมาห้าปีแล้ว ผมจะหยุดยาแอสไพรินได้ไหมครับ ขอบคุณหมอมากครับที่ช่วยเผยแพร่ความรู้จนผมนำมาปฏิบัติได้ผลดีต่อตัวเอง …………………………………………………… ตอบครับ

อ่านต่อ
Latest

หมอสันต์ให้สัมภาษณ์หนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์

(หมอสันต์ให้สัมภาษณ์หนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์ บทความนี้เป็นคำแปลของคำสัมภาษณ์ ส่วนที่คุยกันเป็นภาษาอังกฤษอยู่ข้างล่าง) นสพ.     ในช่วงโควิด19 คุณหมอมองเห็นแนวโน้มในการใช้ชีวิตของผู้คนอย่างไรบ้าง หมอสันต์      แนวโน้มที่ 1. ก็คือการที่แรงงานจำนวนมากต้องอพยพกลับชนบทเพราะไม่มีงานทำ ส่วนหนึ่งไปพยายามดำเนินชีวิตแบบพอเพียงตามที่พระเจ้าอยู่หัว ร.9 สอนไว้      แนวโน้มที่ 2.

อ่านต่อ
Latest

ภาพใหญ่ของหลักฐานวิทยาศาสตร์และการหลงทางในเรื่องโภชนาการ

(นพ.สันต์ บรรยายให้แพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ของกระทรวงสาธารณสุขที่มาเข้าฝึกอบรมที่ Wellness We Care Center)       วิทยาศาสตร์แบบเจาะลึกถึงโมเลกุล (Reductionism) ไม่ช่วยให้สุขภาพดีขึ้น      หลักฐานวิทยาศาสตร์มีหลักพื้นฐานคือชำแหละสิ่งที่จะศึกษาลงไปเป็นชิ้นเล็กๆ เล็กขนาดโมเลกุลหรืออะตอมได้ยิ่งดี แล้วศึกษาคุณสมบัติของมันเปรียบเทียบกับอะตอมหรือโมเลกุลอื่นว่าเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร วิธีการนี้เรียกว่า reductionism ซึ่งเป็นวิธีที่ดีมากในการขจัดปัจจัยกวนในการวิจัยเปรียบเทียบ ผลตามมาคือในทางโภชนาการคือเกิดข้อมูลเกี่ยวกับสารอาหาร

อ่านต่อ
โรคหัวใจ

อย่างนี้ไม่ใช่เป็นโรคหัวใจ แต่เป็นโรคกรดไหลย้อน

ดิฉันอายุ 60 ปี น้ำหนัก 51 กก. สูง 162 ซม. เมื่อเกษียณแล้วได้ออกกำลังกายมาก ด้วยการตีเทนนิส 2 วัน วันละ 1 ชม วิ่งsky walk 3 วันวันละ

อ่านต่อ
Latest

หลักฐานวิทยาศาสตร์ล่าสุดเกี่ยวกับไขมันอิ่มตัว (Saturated fat) และสุขภาพ

      เมื่อเดือนที่แล้ววารสารวิทยาลัยแพทย์โรคหัวใจอเมริกัน (JACC) ได้ตอบรับรายงานการทบทวนงานวิจัยชิ้นหนึ่ง [1] เพื่อจะลงตีพิมพ์ในวารสาร งานชิ้นนั้นชื่อ “ไขมันอิ่มตัวและสุขภาพ: การทบทวนและข้อเสนอให้เปลี่ยนคำแนะนำอาหาร” เนื้อหาสาระผมเห็นว่ามีประโยชน์ แม้ว่าในคณะผู้ทำรายงานทบทวนการวิจัยชิ้นนี้ซึ่งมีจำนวน 12 คน ผมอ่านดูแล้วเป็นผู้ได้รับสปอนเซอร์จากอุตสาหกรรมผลิตนมเสีย 6 คน แต่ผมก็ยังเห็นว่ามีประโยชน์ถ้าใช้ดุลพินิจให้ดี จึงนำมาให้อ่าน

อ่านต่อ