Tag: ไวรัส

COVID-19, Latest

ข้อเท็จจริงล่าสุดเกี่ยวกับวัคซีนโควิด 19

บทความนี้เป็นการรวบตอบอีเมลที่เข้ามาเป็นจำนวนมากเกี่ยวกับประโยชน์และความเสี่ยงของวัคซีนโควิด19 โดยจะค่อยๆจับไปทีละประเด็นที่ถามเข้ามา และเพิ่มเติมประเด็นสำคัญตามแต่ผมจะคิดขึ้นได้ เปรียบเทียบวัคซีนโควิด-19 ทั้งสามชนิด การเปรียบเทียบวัคซีนเราอยากรู้ในสามประเด็น คือ (1) วิธีผลิตและกลไกการออกฤทธิ์ (2) ประสิทธิผลในการป้องกันโรค (3) ความเสี่ยงหรือภาวะแทรกซ้อนของวัคซีน แต่ความจริงก็คือว่า ณ ขณะนี้เรามีแต่ข้อมูลที่จะเปรียบเทียบในประเด็นวิธีผลิตและกลไกการออกฤทธิ์เท่านั้น ส่วนการเปรียบเทียบประสิทธิผลและความเสี่ยงทำไม่ได้เพราะยังไม่เคยมีงานวิจัยแบ่งกลุ่มสุ่มตัวอย่างเปรียบเทียบ (RCT) อย่างดีก็ได้แต่เดาเอาจากข้อมูลที่มาคนละทิศคนละทางซึ่งข้อมูลแบบนั้นไม่สามารถเปรียบเทียบตามแบบวิทยาศาสตร์และเชื่อถือได้น้อย อย่างไรก็ตาม

อ่านต่อ
Latest, ปรึกษาหมอ

การตรวจ MAU และ Urine albumin ในปัสสาวะ ต่างกันหรือไม่

เรียนอาจารย์สันต์ การตรวจ MAU และ Urine albumin ต่างกันหรือไม่ มีความหมายอย่างไร ใช้ประโยชน์อย่างไรคะ ……………………………………………………………….. ตอบครับ ทั้ง MAU ซึ่งย่อมาจาก microalbumin และ urine albumin เป็นคำเรียกการตรวจแบบเดียวกันครับ ชื่อ

อ่านต่อ
COVID-19, Latest

หมอสันต์ตอบเรื่องวัคซีนโควิด 19

อาจารย์ช่วยอธิบายวัคซีนโควิด 19 ให้หน่อย ว่าอย่างไหนดีเสียอย่างไร ควรฉีดหรือไม่ควรฉีด เพราะอ่านมาแยะแล้วแต่ก็ยังไม่รู้เรื่องเลย ………………………………………………………. ตอบครับ ฮ้า นี่เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ของการเป็นหมอเวชศาสตร์ครอบครัวของหมอสันต์ที่คนไข้มาขอเรียนรู้เรื่องวัคซีน แต่ก่อนนี้อย่าว่าแต่คนไข้เลย แม้แต่หมอด้วยกันเมื่อชวนคุยเรื่องวัคซีนก็ ฮึ.. เมินหน้า ไม่สน ขอบคุณโควิด19 ที่กระตุ้นความสนใจในคุณค่าของวัคซีนขึ้นมา เป็นการช่วยให้หมอเวชศาสตร์ครอบครัวซึ่งต้องส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคโดยตรงทำหน้าที่ได้ง่ายขึ้น แต่ก่อนจะตอบคำถามของคุณ ผมต้องปูความรู้พื้นฐานก่อนนะ

อ่านต่อ
COVID-19, Latest

นี่เป็นเวลาที่จะต้องตัดสินใจเรื่องโควิด 19 อีกครั้ง

     ภาพรวมสถานะการณ์โควิด19 ของไทยวันนี้      ไม่น่าเชื่อแต่ก็ต้องเชื่อ ประเทศไทยของเราได้กลับเข้าสู่การระบาดของโควิด19 ในระยะเร่งหรือระยะที่ 4 (acceleration phase) อีกแล้ว หลังจากที่ดับคลื่นระยะเร่งนี้ลงได้สนิทแล้วเมื่อปลายเดือนเมษายน รูปแบบการกระจายตัวของโรคได้เปลี่ยนจากการอยู่ในระยะติดเชื้อกระปริดกระปรอย (sporadic) อย่างคงที่มานานถึง 8 เดือน กลับมาเป็นการติดเชื้อเป็นกลุ่มๆ

อ่านต่อ
COVID-19

ส่งท้ายปีเก่า 2020 แต่จะต้อนรับการกลับมาใหม่ของโควิด19 ด้วยไหม

เมื่อเดือนมีนาคมปีนี้ ผมได้เขียนถึงตัวเปลี่ยนเกม (Game Changer) ของสถานะการณ์โรคโควิด19 ว่ามีอยู่ 7 ตัว ตัวเบ้งตัวหนึ่งในเจ็ดตัวนั้นก็คืออุณหภูมิและความชื้น เพราะงานวิจัยกับเชื้อไวรัสซาร์สโควี1ซึ่งเป็นญาติพี่น้องกับซาร์โควี2ที่ทำให้เกิดโรคโควิด19นี้ พบว่ามันทนมีชีวิตอยู่บนพื้นผิวแห้งนอกร่างกายคนได้นานถึงมากกว่า 5 วันหากอุณหภูมิต่ำอยู่ระหว่าง 22-25 องศาและอากาศแห้งระดับความชื้น 40-50% ซึ่งก็คือบรรยากาศในห้องแอร์ แต่หากอุณหภูมิสูงขึ้นถึง 38 องศาซี.และความชื้นสูงถึง

อ่านต่อ
โรคหัวใจ

วิ่งแล้วเสียชีวิต ประเด็นที่เอาไปใช้ประโยชน์ได้

หญ้ารกที่ทางเข้าบ้านมวกเหล็ก เรียน คุณหมอสันต์        จากข่าวเร็ว ๆ นี้        “สลดงานวิ่งดับวันเดียว 3 ราย รองอธิบดีควบคุมโรค-ระยอง 2” ทั้ง ๆ ที่มีหน่วยรักษาพยาบาลอยู่ในเหตุการณ์

อ่านต่อ
โรคหัวใจ

นอกจากเลือกชนิดลิ้นหัวใจแล้ว ยังต้องฟูมฟักระบบภูมิคุ้มกันโรคด้วย

โชว์ต้นประดู่ปลูกเองกับมือที่หัวนอน คุณหมอสันต์ครับ พ่ออายุ 58 ปี ป่วยเป็น Infective endocarditis with severe MR with CHF และตรวจพบ HbsAg positive แต่ยังไม่ได้ตรวจเพิ่มเติมละเอียด ยังไม่ได้ ultrasound ตับ

อ่านต่อ