Tag: มังสวิรัติ

Latest, อาหารจากพืชเป็นหลัก

วิตามินบี12 ชนิด cyanocobalamine และ methylcobalamine ต่างกันอย่างไร

เรียนอาจารย์สันต์ ใจยอดศิลป์ ที่เคารพ หนูขออนญุาตรบกวนปรึกษาอาจารย์เกี่ยวกับไวตามิน B12 สำหรับคนรับประทานวีแกนค่ะ หนูส่งข้อมูลสุขภาพของหนูมาพร้อมนี้ อายุ39 ปี สูง 164ซม. หนัก 45กก. ผลตรวจสุขภาพดังที่แนบท้าย หนูเริ่มทานอาหารวีแกนต้้งแต่ 04/2563 จนถึงปัจจุบันค่ะ เป็นมังสวิรัติที่ไม่ทานผลิตภัณฑ์จากสัตว์เลย รวมถึงนมเนยและไข่ หนูได้ติดตามคลิปของอาจารย์ผ่านทางยูทูปและ

อ่านต่อ
Latest, อาหารจากพืชเป็นหลัก

จะใช้น้ำมันมัสตาร์ดทำอาหารแทนน้ำมันมะกอกหรือน้ำมันคาโนล่าได้ไหม

บรูเช็ตต้า ทำจากมันเทศม่วง แหมะบนขนมปังงา (ขออำไพขนมปังมีรอยหนูแทะ)      จะใช้น้ำมันมัสตาร์ดทำอาหารแทนน้ำมันมะกอกหรือน้ำมันคาโนล่าได้ไหม  …………………………………………… ตอบครับ      ถามว่าจะใช้น้ำมันมัสตาร์ดทำอาหารแทนน้ำมันมะกอกหรือน้ำมันคาโนล่าได้ไหม หมอสันต์ตอบว่า..ได้สิครับ ตำรวจไม่จับหรอก      อ้าว ทำไมตอบอย่างนั้นละ ก็ในยุโรปและอเมริกาเขาห้ามใช้น้ำมันมัสตาร์ดทำอาหารไม่ใช่หรือ เพราะ

อ่านต่อ
อาหารจากพืชเป็นหลัก

เป็นคุณหมอ วางแผนเลี้ยงลูกด้วยอาหารแบบวีแกน

สวัสดีค่ะ อ.หมอสันต์ หนูจบหมอตั้งแต่ปี 2555 ตอนนี้ลาออกมาเลี้ยงลูกค่ะ มีเรื่องที่คิดหนักมากๆเลยคือหนูอยากเลี้ยงลูกเป็นวีแกน แต่หนูกลัวลูกขาดอะไรรึป่าว ก็เลยว่าจะให้กินไข่แดงบ้าง อยากทราบว่า จำเป็นต้องกินไข่มั้ยคะ ปัจจุบัน อายุ10เดือน กิน 3 มื้อ ลูกกินดังนี้ค่ะ ( วนๆค่ะ) – ถั่วหลากสีปั่น

อ่านต่อ
โรคหัวใจ

คู่มือรักษาตัวเอง ตอนที่ 1. โรคหัวใจขาดเลือด

(ช่วงโควิด19นี้มีจดหมายถามเรื่องการดูแลตัวเองในโรคเรื้อรังต่างๆเข้ามาแยะมาก เพราะหมอนัดแล้วไปรพ.ไม่ได้ก็กลัวว่าตัวเองจะมีอันเป็นไปจึงอยากจะรู้วิธีดูแลตัวเองไว้บ้าง พอผมเห็นเป็นคำถามซ้ำซากจึงบอกว่าให้ไปอ่านเองในบล็อกหมอสันต์ บางท่านก็หายไปพักหนึ่งแล้วก็เขียนกลับมาอีกว่าไม่รู้ว่าเรื่องโรคของตัวเองควรจะเลือกอ่านตรงไหน เพราะในบล็อกหมอสันต์มีเรื่องต่างๆเยอะเหลือเกิน ซึ่งผมเห็นด้วยเพราะตัวผมเองบางครั้งอยากหาเรื่องที่ตัวเองเขียนไปแต่ก็หาไม่เจอ จะจัดหมวดหมู่ก็ยากเพราะการตอบจดหมายแต่ละฉบับถามกันมาหลายข้อหลายระบบไม่รู้จะเอาจดหมายไปเข้าระบบไหน จึงใช้วิธีปล่อยไปตามกรรมไม่จัดอะไรทั้งสิ้น แต่เมื่อมีจดหมายซ้ำซากเข้ามามากก็เกิดความคิดว่าควรจะทะยอยเขียนบทความสักชุดหนึ่ง เรียกว่า “คู่มือรักษาตัวเอง” ก็แล้วกัน โดยทะยอยเขียนเป็นตอน ตอนละหนึ่งโรค กว่าเรื่องโควิด19จะเลิกรากันไปก็คงจะได้อย่างน้อยสักสิบตอนซึ่งก็พอที่จะครอบคลุมโรคเรื้อรังที่พบบ่อยส่วนใหญ่ได้ โดยจะเริ่มต้นด้วยโรคหัวใจก่อน ต่อไปวันหน้าใครถามโรคอะไรมาซ้ำซากผมก็จะได้เชิญให้ไปอ่านคู่มือรักษาตัวเองตอนที่เกี่ยวกับโรคนั้นได้เลย) …………………………………………………………. คู่มือรักษาโรคด้วยตนเอง ตอนที่

อ่านต่อ
โรคหัวใจ

คำแนะนำมาตรฐานการป้องกันโรคหัวใจปี 2019 (AHA/ACC guidelines)

     ปีนี้เป็นปีที่สมาคมหัวใจอเมริกัน (AHA) ซึ่งผมเป็นสมาชิกอยู่ ได้ร่วมกับวิทยาลัยแพทย์โรคหัวใจอเมริกัน (ACC) ออกคำแนะนำการป้องกันโรคหัวใจหลอดเลือดเสียใหม่ (2019 Guidelines) ผมเห็นว่ามีหลายประเด็นที่เป็นเรื่องใหม่ที่น่าสนใจเช่น       (1) การแนะนำให้คนอ้วนหรือคนน้ำหนักเกินไปเข้าโปรแกรมเปลี่ยนวิถีชีวิตอย่างสิ้นเชิงนาน 6 เดือน เพื่อเปลี่ยนนิสัยการกินและการออกกำลังกาย     

อ่านต่อ